Latest Stories

การบริหารความเสี่ยง

จริยธรรมในการบริหารความเสี่ยง หัวใจของความยั่งยืนในองค์กรยุคใหม่

ในยุคที่โลกธุรกิจขับเคลื่อนด้วยความรวดเร็วและการแข่งขันอย่างเข้มข้น หลายองค์กรต่างมุ่งเน้นไปที่การเติบโตและผลกำไรเป็นหลัก โดยอาจมองข้ามสิ่งที่สำคัญไม่น้อยไปกว่าเป้าหมายทางการเงิน นั่นคือ “จริยธรรมในการบริหารความเสี่ยง” ซึ่งเป็นปัจจัยที่เชื่อมโยงโดยตรงกับความยั่งยืนขององค์กรในระยะยาว ความเสี่ยงในยุคการแข่งขันสูง จริยธรรมมักถูกละเลย องค์กรจำนวนมากอาจเผชิญกับแรงกดดันในการลดต้นทุน เพิ่มผลกำไร หรือเร่งรัดกระบวนการผลิต ซึ่งอาจนำไปสู่การตัดสินใจที่ขาดจริยธรรม เช่น การเปลี่ยนสเปควัสดุก่อสร้างเพื่อลดต้นทุน หรือการเพิกเฉยต่อข้อกำหนดทางวิศวกรรม แม้พฤติกรรมเช่นนี้อาจไม่ผิดกฎหมายโดยตรง แต่เป็นการ ใช้ช่องว่างของกฎหมายและไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านจริยธรรมและมาตรฐานวิชาชีพ (Compliance) อย่างชัดเจน ในกรณีที่ความเสี่ยงดังกล่าวอยู่ในระดับต่ำ องค์กรอาจสามารถรับมือได้เองโดยไม่กระทบต่อสังคมหรือสิ่งแวดล้อม แต่หากความเสี่ยงมีระดับสูง ผลกระทบที่ตามมาอาจรุนแรงถึงขั้นเป็นโศกนาฏกรรมที่ย้อนกลับมาแก้ไขไม่ได้ ตัวอย่างเช่น การถล่มของอาคาร หรืออุบัติเหตุร้ายแรงจากโครงการก่อสร้างที่ละเลยมาตรฐาน ระดับความเสี่ยงที่องค์กรควรพิจารณา การจำแนกระดับความเสี่ยงเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้องค์กรสามารถประเมินและบริหารความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระดับ ได้แก่: “จริยธรรม” รากฐาน การบริหารความเสี่ยง หัวหน้าโครงการหรือผู้บริหารองค์กรควรมีบทบาทหลักในการประเมินความเสี่ยงอย่างรอบด้าน โดยเฉพาะในระดับที่สูงสุด ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับชีวิตผู้คนและสิ่งแวดล้อม หากเกิดอุบัติเหตุร้ายแรง การสอบสวนมักชี้ให้เห็นว่า ปัญหาไม่ได้เกิดจากความผิดพลาดทางวิศวกรรมเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการ ขาดจริยธรรมในการบริหารจัดการ เช่น การละเลยข้อกำหนดมาตรฐาน ความไม่โปร่งใส และความไม่รับผิดชอบของผู้เกี่ยวข้อง ความสำคัญของ Compliance Business Compliance คือการที่องค์กรดำเนินงานอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ มาตรฐานอุตสาหกรรม […]

E-Commerce คืออะไร แล้วสำคัญยังไงกับธุรกิจ

ไม่ว่าธุรกิจเล็กไปจนถึงธุรกิจใหญ่คงจะไม่มีใครไม่รู้จักการขายของหรือการช้อปปิ้งผ่านทางออนไลน์ E-Commerce เป็นช่องทางการค้าอีกช่องทางนึงที่เข้าได้ทุกกลุ่มลูกค้าและสะดวกต่อการซื้อขาย แต่หลายคนหรือหลาย ๆ ธุรกิจอาจจะไม่รู้จักว่า E-Commerce คืออะไร สำคัญอย่างไรต่อธุรกิจ บทความนี้จะมาทำความรู้จักช่องทางการขายของออนไลน์ที่มีผู้ใช้มากที่สุด E-Commerce คืออะไร พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-Commerce คือ การซื้อขายสินค้าออนไลน์ เพียงแค่มีอินเทอร์เน็ต สามารถจะซื้อขายสินค้า เมื่อไหร่ ที่ไหน เวลาไหนด็ได้ สะดวกและทำให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงสินค้าหรือบริการได้สะดวกและรวดเร็ว E-Commerce มีกี่ประเภท  สามารถแบ่งออกได้เป็น 6 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้  E-Commerce มีอะไรบ้าง รูปแบบของ E-Commerce ที่พบเห็นได้บ่อย ได้แก่  ประโยชน์ของ E-Commerce มีอะไรบ้าง ตัวอย่างช่องทางการซื้อขายผ่าน E-Commerce E-Commerce ไม่ได้เป็นแค่ช่องทางขายสินค้าออนไลน์ แต่ยังช่วยให้ธุรกิจทันสมัย คล่องตัว มีข้อมูลในการตัดสินใจ และเข้าถึงลูกค้าได้ง่ายขึ้นกว่าเดิม  ทั้งหมดนี้ล้วนช่วยเพิ่มยอดขาย ลดต้นทุน และสร้างแบรนด์ให้แข็งแรงในโลกของการตลาดยุคดิจิทัล

เจาะลึกรายละเอียดการตลาดยุคดิจิทัลคืออะไร 

การตลาดยุคดิจิทัล เป็นแนวทางที่ทุกธุรกิจต้องให้ความสำคัญในยุคปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ต่างก็ต้องปรับตัวเพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ บทความนี้จะช่วยให้คุณเข้าใจว่าการตลาดยุคดิจิทัลคืออะไรมีกี่ประเภท เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับการตลาดยุคดิจิทัลมากยิ่งขึ้น การตลาดยุคดิจิทัลคืออะไร ​กระบวนการใช้เทคโนโลยีและแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อโปรโมทสินค้าและบริการไปยังกลุ่มเป้าหมายซึ่งแตกต่างจากการตลาดแบบดั้งเดิมที่เน้นโฆษณาผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุ และโทรทัศน์ เพราะปัจจุบันพฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนไปมาก ผู้คนใช้เวลาอยู่บนโลกออนไลน์มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาข้อมูล ซื้อสินค้า สื่อสารกับแบรนด์ต่าง ๆ หรือการบริการความสัมพันธ์กับลูกค้า ดังนั้น ธุรกิจที่ไม่มีตัวตนบนแพลตฟอร์มออนไลน์ อาจจะเสียโอกาสทางการตลาดอย่างมาก การตลาดยุคดิจิทัลมีกี่ประเภท การตลาดดิจิทัลมีด้วยกันหลากหลายประเภทซึ่งแต่ละช่องทางมีบทบาทแตกต่างกันไป ธุรกิจสามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับเป้าหมายของตัวเอง ทำความเข้าใจช่องทางสำคัญดังนี้ ประโยชน์ของการตลาดยุคดิจิทัลที่ควรรู้ ตัวอย่างการทำการตลาดยุคดิจิทัล การใช้ SEO เพื่อดึงดูดลูกค้าแบบออร์แกนิก: ร้านขายอุปกรณ์ออกกำลังกายออนไลน์ สรุปว่าการตลาดยุคดิจิทัลนั้นเป็นกลยุทธ์สำคัญที่ช่วยให้ธุรกิจเข้าถึงลูกค้าได้ง่ายและแม่นยำขึ้น ผ่าน SEO, Social Media, Google Ads และ Email Marketing ซึ่งช่วยลดต้นทุน วัดผลได้รวดเร็ว และสร้างแบรนด์ให้เติบโต ดังนั้น หากไม่ปรับตัว อาจเสียโอกาสให้คู่แข่ง ดังนั้น ธุรกิจยุคใหม่ต้องให้ความสำคัญกับการตลาดดิจิทัลเพื่อความอยู่รอดและเติบโต

พามาทำความรู้จัก STP Marketing คืออะไร มีความสำคัญอะไรต่อธุรกิจ  

เครื่องมือทางการตลาดที่นักการตลาดควรต้องรู้จักเพราะ STP Marketing จะมาค่อยช่วยแบ่งส่วนตลาดกำหนดกลุ่มเป้าหมายและวางตำแหน่งทางการตลาดให้กับธุรกิจ เหมาะสำหรับเริ่มต้นธุรกิจหรือธุรกิจที่กำลังพัฒนา STP Marketing คืออะไร การวางกลยุทธ์การแบ่งส่วนตลาด กำหนดกลุ่มเป้าหมาย และ วางตำแหน่งทางการตลาดเพื่อให้เหมาะสมกับธุรกิจและตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค STP Marketing มีอะไรบ้าง แบ่งออกเป็น 3 ส่วนดังนี้  โดยหลักเกณฑ์ที่จะใช้ในการแบ่งส่วนการตลาดจะมีด้วยกันทั้งหมด 4 ข้อ ได้แก่ ตัวอย่างการวิเคราะห์ STP Marketing ยกตัวอย่าง ธุรกิจน้ำผลไม้ STP Marketing มีประโยชน์กับธุรกิจยังไง ดังนั้น STP Marketing จึงมีความสำคัญ เพราะช่วยให้ธุรกิจเจาะจงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างชัดเจน วางแผนกลยุทธ์และพัฒนาสินค้าหรือบริการให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า รวมถึงสร้างความแตกต่างจากคู่แข่ง ทำให้ธุรกิจมีภาพลักษณ์ที่โดดเด่นและเป็นที่จดจำของผู้บริโภค โดยสรุปเห็นได้ชัดว่าการวางแผนธุรกิจให้ดีส่งผลต่อธุรกิจมากมายเลยทีเดียว ในบทความที่แล้วได้มีการพูดถึงการวางแผนธุรกิจคืออะไร ความสำคัญ และขั้นตอนการเขียนในส่วนแผนธุรกิจ หากอยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการวางแผนธุรกิจสามารถตามไปอ่านกันได้เลย

ส่วนผสมทางการตลาดคืออะไร อธิบายด้วยกลยุทธ์การตลาด 4P

สำหรับนักการตลาดแล้วคงไม่มีใครไม่รู้จัก Marketing Mix หรือส่วนผสมทางการตลาด เพราะในการเริ่มต้นที่จะทำธุรกิจหลาย ๆ ธุรกิจมักจะใช้กลยุทธ์ Marketing Mix หรือส่วนผสมทางการตลาดเป็นรากฐานในการวางแผนธุรกิจ บทความนี้จะมาอธิบายถึง Marketing Mix  ส่วนผสมทางการตลาดคืออะไร พร้อมเจาะลึกการตลาดด้วยหลัก 4P มีอะไรบ้าง พร้อมตัวอย่าง การวิเคราะห์กลยุทธ์ 4Pให้รู้จักและเข้าใจในรายละเอียดมากขึ้น ส่วนผสมทางการตลาดคืออะไร เครื่องมือทางการตลาดที่ใช้ในการวางแผนและดำเนินกลยุทธ์ทางการตลาด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้และสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าแถมยังช่วยให้ธุรกิจสามารถเข้าแข่งขันในตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ  การตลาดด้วยหลัก 4P มีอะไรบ้าง หลัก 4P ในการตลาด ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก ดังนี้  4p ประโยชน์ต่อธุรกิจอย่างไร  ตัวอย่างการวิเคราะห์กลยุทธ์ 4P ยกตัวอย่างสินค้า: สมาร์ทโฟนรุ่นใหม่ โดยสรุปจะเห็นได้ชัดแล้วว่า Marketing Mix หรือส่วนผสมทางการตลาด ถ้าวางกลยุทธ์ให้ดีแล้วนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับธุรกิจจะส่งผลประโยชน์ต่อธุรกิจมากแค่ไหน ไม่ว่าจะเป็นด้านยอดขาย ด้านการสร้างการรับรู้ ความได้เปรียบทางการแข่งขัน หรือโอกาสที่จะทำให้ลูกค้าอยู่กับเราในระยะยาว และอาจจะทำให้ธุรกิจบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ได้ไม่ยากเท่าไหร่นัก และเป็นกลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสำหรับเริ่มต้นทำธุรกิจ

EDITORS’ PICKS

hardcoreceo
อนาคต E-Commerce กับการนำ AI เข้ามาตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า

ก่อนหน้านี้เราจะได้ยินบ่อยๆ ว่า ในอนาคต ธุรกิจต่างๆ จะมีการนำระบบหุ่นยนต์ ระบบ Machine Learning และระบบ AI เข้ามาใช้ในธุรกิจมากขึ้น ซึ่ง ณ​ วันนี้ เหมือนเราจะเดินมาถึงอนาคตนั้นกันแล้ว เทรนด์เทคโนโลยีทุกวันนี้บังคับให้ธุรกิจเกือบทั้งหมดต้องดำเนินการผ่านช่องทางออนไลน์ ตั้งแต่การหาลูกค้า ให้ข้อมูลกับลูกค้า คุยกับลูกค้า ไปจนถึงการซื้อขาย และการชำระเงิน ยิ่งไปกว่านั้น ได้เริ่มมี การใช้ AI ในธุรกิจ ต่างๆ จนแทบจะเป็นเรื่องปกติไปแล้วด้วยซ้ำ ธุรกิจที่เราอยากโฟกัสในบทความนี้คือ E-Commerce เนื่องจากหลายแบรนด์ที่ขายสินค้าในรูปแบบขายปลีกได้เริ่มเปิดช่องทาง E-Commerce ของตัวเอง และจำหน่ายให้ลูกค้าโดยตรง หรือเรียกว่า Direct to Customer (DTC) จากแต่ก่อนที่เคยขายออฟไลน์ ขายส่ง หรือขายผ่านช่องทางดั้งเดิมอื่นๆ ซึ่งการทำ E-Commerce ในยุคนี้ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดาไปแล้ว แบรนด์ไหนก็สามารถจดโดเมนเว็บไซต์ และสร้างเว็บไซต์ E-Commerce แบบ Basic เองได้เลย สิ่งที่น่าจับตามอง คือการนำ AI มาใช้ในธุรกิจ […]

HardcoreCEO

September 24, 2021
เจาะลึก 14 เทรนด์เทคโนโลยีที่เริ่มเข้ามามีบทบาทในธุรกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ธุรกิจในอนาคตยังไงก็หนีไม่พ้นการนำเทคโนโลยีเข้ามาปรับใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินการ บริหาร จัดการ วิเคราะห์ พัฒนาสินค้า เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ลดต้นทุน ไปจนถึงการอำนวยความสะดวกสบายให้กับลูกค้า โดยทาง McKinsey ได้มีรายงานสรุป 14 เทรนด์เทคโนโลยี ที่ได้เข้ามามีบทบาทในธุรกิจทั้งในปี 2023 และต่อไปในอนาคตอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยทั้ง 14 เทรนด์ จะถูกแบ่งออกเป็นสองหมวดหมู่ใหญ่ๆ คือ เทรนด์เทคโนโลยี ด้าน Silicon Age Applied AI คือการสร้างโมเดลในรูปแบบ Machine Learning ที่สามารถเรียนรู้จากข้อมูล เพื่อเข้ามาแก้ไขปัญหาเรื่องการวิเคราะห์ การจัดกลุ่มตัวเลขและการคาดการณ์ เพื่อช่วยให้การตัดสินใจแม่นยำยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการตัดสินใจของคนหรือของสมองกล สำหรับเทคโนโลยีด้าน Applied AI จัดว่าเป็นเทคโนโลยีที่ได้รับความนิยมค่อนข้างสูง ไปในปี 2021 มีเงินลงทุนในเทคโนโลยีนี้กว่า 165,000,000 เหรียญสหรัฐ สิ่งที่สะท้อนให้เห็นผลลัพธ์ของเทรนด์นี้เห็นได้ชัดจากอัปเดตล่าสุดในปี 2023 ที่ ChatGPT เปิดตัวให้ใช้งาน พัฒนาโดย OpenAI ซึ่งถือเป็น Chatbot ที่สามารถเรียนรู้ที่จะเข้าใจคำถามและสามารถตอบคำถามได้ด้วยภาษาที่เป็นธรรมชาติ ใกล้เคียงกับมนุษย์ที่สุดในตอนนี้ […]

HardcoreCEO

October 19, 2022
กลยุทธ์ในการรักษาฐานลูกค้าเก่า ที่ประหยัดกว่าการหาลูกค้าใหม่ได้ถึง 5 เท่า!

ฐานลูกค้าเก่าที่คุณมีเปรียบเสมือนเป็นอีกหนึ่งสินทรัพย์ของบริษัทเลยก็ว่าได้ ไม่ว่าจะในช่วงที่เศรษฐกิจดี ที่ส่งผลให้เกิดคู่แข่งในตลาดเต็มไปหมด หรือในช่วงที่เศรษฐกิจมีปัญหา ที่ทำให้การหาลูกค้าใหม่อาจเป็นไปได้ยากกว่าที่เคย เพราะฉะนั้น การรักษาฐานลูกค้า จึงเป็นอีกกลยุทธ์ที่หลายบริษัทไม่ควรมองข้าม เพราะเป็นการสร้างรากฐานธุรกิจของคุณให้มีความมั่นคง โดยที่ต้องทำควบคู่ไปกับการหาลูกค้าใหม่ด้วย เพราะบริษัทจะมั่นคง ต้องมีฐานลูกค้าเก่าที่แข็งแรง ในขณะที่การเพิ่มลูกค้าใหม่จะช่วยให้ธุรกิจเติบโตได้เร็วขึ้น ข้อดีอีกอย่างของ การรักษาลูกค้าเก่า ก็คือเป็นกลยุทธ์ทางธุรกิจที่ช่วยประหยัดต้นทุนของบริษัทกว่าการหาลูกค้าใหม่ได้ถึง 5 เท่า! ซึ่งเป็นข้อมูลที่พบจากการจัดทำแบบสอบถามทางธุรกิจของ invesp เท่านั้นยังไม่พอ จากการศึกษาวิจัยทางธุรกิจของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (hbswk.hbs.edu) ยังพบอีกว่าหากอัตรา การรักษาฐานลูกค้าเก่า (Customer Retention) เพิ่มขึ้น 5% สามารถส่งผลต่อกำไรของบริษัทที่เพิ่มสูงขึ้นได้ 25-95% นอกจากนี้โอกาสในการขายกับลูกค้าเก่าก็มีแนวโน้มที่จะประสบความสำเร็จ 60-70% มากกว่าการขายกับลูกค้าใหม่ที่มีโอกาสปิดการขายได้ 5-20% .. โดยเฉพาะในปี 2021 การบริการความสัมพันธ์กับลูกค้ากลายมาเป็นหัวใจสำคัญที่จะให้ธุรกิจอยู่รอดได้ ขอแถมเล็กน้อยก่อนเข้าเรื่อง.. ใครอยากคำนวณว่าต้นทุนเฉลี่ยต่อการได้มาซึ่งลูกค้าหนึ่งราย (CAC) ลองใช้สูตรนี้ได้เลย โดยสามารถนำไปประยุกต์ได้ เช่น ถ้าอยากรู้ต้นทุนต่อการได้มาซึ่งการซื้อซ้ำของลูกค้าเก่า ก็นำค่าใช้จ่ายการตลาด (เฉพาะที่ใช้ไปกับลูกค้าเก่า) หารกับจำนวนลูกค้าเก่าที่ซื้อซ้ำ หรือใครอยากจะนำมาคิดแยกช่องทางก็ได้ เช่น แยก CAC ของการทำการตลาดบน Google […]

HardcoreCEO

December 30, 2020
Live Streaming Ecommerce กับการ Live ขายของแบบจีนๆ มูลค่ากว่า 3 พันล้านเหรียญ

ในช่วงสองปีที่ผ่านมา Live Streaming หรือ การ Live ขายของ หรือ ไลฟ์สด ที่พวกเราคุ้นเคยกัน กลายเป็นช่องทางการจับจ่ายที่สำคัญสำหรับผู้บริโภคชาวจีน โดยมีผู้ใช้ชาวจีนมากกว่า 300 ล้านคน ใช้เป็นช่องทาง Entertainment หาเรื่องราวที่พวกเขาสนใจ รวมถึงการดูสินค้าใหม่ๆ ดูรีวิวผลิตภัณฑ์ ซึ่งไม่ว่าจะเป็นธุรกิจเล็ก หรือใหญ่ก็ล้วนให้ความสำคัญกับการขายของผ่านทางไลฟ์สด โดยพบว่า 90% ของแบรนด์ที่ใหญ่ที่สุดใน Tmall ก็ได้ทำการ Live Streaming ในช่วง 11.11 เช่นกัน.. แบรนด์ที่ทำยอดขายได้มากที่สุด ได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้า และแบรนด์ความงาม เช่น Huawei, Estee Lauder, Lancome, Haier, Xiaomi, L’Oreal, Shiseido และ La Mer Live Streaming หรือ การ Live ขายของ ในประเทศจีน ไม่ใช่แค่ทางเลือกของการทำออนไลน์ […]

Jittima K.

May 22, 2021
ความท้าทายของ Direct to Customer (DTC หรือ D2C) ขายของตรงถึงลูกค้า ไม่ผ่านตัวกลาง

แนวโน้มตอนนี้ธุรกิจอะไรก็ตามที่เป็นตัวกลางกำลังถูก Disrupt อย่างต่อเนื่อง เช่น วงการเครื่ออข่ายโทรศัพท์ก็ถูก Disrupt ด้วยการโทรหากันผ่านอินเตอร์เน็ตแทน ซึ่งในธุรกิจที่เป็นตัวกลางในการกระจายสินค้า หรือเรียกว่าเป็นพ่อค้าคนกลางก็กำลังถูกตัดออกไป เนื่องจากแบรนด์เองก็มองหาโอกาสในการขายของแบบ Direct to Customer (DTC หรือ D2C) หมายถึงการขายสินค้าจากแบรนด์ตรงไปยังผู้บริโภคเลย โดยอาจใช้ประโยชน์ของช่องทาง E-commerce .. DTC คือ อะไร เราจะมาแชร์ความรู้กันในบทความนี้ รู้หรือเปล่าว่า 81% ของผู้บริโภคกลุ่ม Millennial ซื้อสินค้าจากแบรนด์แบบ DTC (เทรนด์ในสหรัฐอเมริกา) ก่อนอื่นขออธิบายเรื่องชื่อของ DTC Marketing ก่อน บางคนเรียก Direct to Customer สั้นๆ ว่า DTC หรือ D2C เพื่อให้คล้องกับ B2C (Business to Customer) และ B2B (Business to Business) ดั้งนั้นไม่ว่าจะ […]

HardcoreCEO

August 25, 2021
hardcoreceo บทความธุรกิจ

ABOUT US

ในยุคที่ทุกอย่างรอบตัวเราถูก Digitalized ไปเกือบหมด พฤติกรรมคนเปลี่ยน วิธีการทำธุรกิจเปลี่ยน เทคโนโลยีเปลี่ยน ผู้ประกอบการ หรือ บุคลากรที่เป็น Professional ในองค์กรต่างๆ ก็ต้องเปลี่ยนตาม..

เราต้องการส่งต่อ The HarcoreCEO DNA “ปรับ เปลี่ยน และ เรียนรู้” ผ่านบทความ และเรื่องราว เพื่อเป็นความรู้ และแนวคิด ให้องค์กรประสบความสำเร็จในยุคดิจิทัล

อัพเดทเรื่องราวธุรกิจที่ไม่ควรพลาด
รับความรู้ตรงถึงอีเมล



    อัพเดทผ่าน LINE

    หรือปรึกษาเราเรื่องธุรกิจ

    BUSINESS & MARKETING

    การบริหารความเสี่ยง

    จริยธรรมในการบริหารความเสี่ยง หัวใจของความยั่งยืนในองค์กรยุคใหม่

    ในยุคที่โลกธุรกิจขับเคลื่อนด้วยความรวดเร็วและการแข่งขันอย่างเข้มข้น หลายองค์กรต่างมุ่งเน้นไปที่การเติบโตและผลกำไรเป็นหลัก โดยอาจมองข้ามสิ่งที่สำคัญไม่น้อยไปกว่าเป้าหมายทางการเงิน นั่นคือ “จริยธรรมในการบริหารความเสี่ยง” ซึ่งเป็นปัจจัยที่เชื่อมโยงโดยตรงกับความยั่งยืนขององค์กรในระยะยาว ความเสี่ยงในยุคการแข่งขันสูง จริยธรรมมักถูกละเลย องค์กรจำนวนมากอาจเผชิญกับแรงกดดันในการลดต้นทุน เพิ่มผลกำไร หรือเร่งรัดกระบวนการผลิต ซึ่งอาจนำไปสู่การตัดสินใจที่ขาดจริยธรรม เช่น การเปลี่ยนสเปควัสดุก่อสร้างเพื่อลดต้นทุน หรือการเพิกเฉยต่อข้อกำหนดทางวิศวกรรม แม้พฤติกรรมเช่นนี้อาจไม่ผิดกฎหมายโดยตรง แต่เป็นการ ใช้ช่องว่างของกฎหมายและไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านจริยธรรมและมาตรฐานวิชาชีพ (Compliance) อย่างชัดเจน ในกรณีที่ความเสี่ยงดังกล่าวอยู่ในระดับต่ำ องค์กรอาจสามารถรับมือได้เองโดยไม่กระทบต่อสังคมหรือสิ่งแวดล้อม แต่หากความเสี่ยงมีระดับสูง ผลกระทบที่ตามมาอาจรุนแรงถึงขั้นเป็นโศกนาฏกรรมที่ย้อนกลับมาแก้ไขไม่ได้ ตัวอย่างเช่น การถล่มของอาคาร หรืออุบัติเหตุร้ายแรงจากโครงการก่อสร้างที่ละเลยมาตรฐาน ระดับความเสี่ยงที่องค์กรควรพิจารณา การจำแนกระดับความเสี่ยงเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้องค์กรสามารถประเมินและบริหารความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระดับ ได้แก่: “จริยธรรม” รากฐาน การบริหารความเสี่ยง หัวหน้าโครงการหรือผู้บริหารองค์กรควรมีบทบาทหลักในการประเมินความเสี่ยงอย่างรอบด้าน โดยเฉพาะในระดับที่สูงสุด ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับชีวิตผู้คนและสิ่งแวดล้อม หากเกิดอุบัติเหตุร้ายแรง การสอบสวนมักชี้ให้เห็นว่า ปัญหาไม่ได้เกิดจากความผิดพลาดทางวิศวกรรมเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการ ขาดจริยธรรมในการบริหารจัดการ เช่น การละเลยข้อกำหนดมาตรฐาน ความไม่โปร่งใส และความไม่รับผิดชอบของผู้เกี่ยวข้อง ความสำคัญของ Compliance Business Compliance คือการที่องค์กรดำเนินงานอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ มาตรฐานอุตสาหกรรม […]

    เจาะลึกรายละเอียดการตลาดยุคดิจิทัลคืออะไร 

    การตลาดยุคดิจิทัล เป็นแนวทางที่ทุกธุรกิจต้องให้ความสำคัญในยุคปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ต่างก็ต้องปรับตัวเพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ บทความนี้จะช่วยให้คุณเข้าใจว่าการตลาดยุคดิจิทัลคืออะไรมีกี่ประเภท เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับการตลาดยุคดิจิทัลมากยิ่งขึ้น การตลาดยุคดิจิทัลคืออะไร ​กระบวนการใช้เทคโนโลยีและแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อโปรโมทสินค้าและบริการไปยังกลุ่มเป้าหมายซึ่งแตกต่างจากการตลาดแบบดั้งเดิมที่เน้นโฆษณาผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุ และโทรทัศน์ เพราะปัจจุบันพฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนไปมาก ผู้คนใช้เวลาอยู่บนโลกออนไลน์มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาข้อมูล ซื้อสินค้า สื่อสารกับแบรนด์ต่าง ๆ หรือการบริการความสัมพันธ์กับลูกค้า ดังนั้น ธุรกิจที่ไม่มีตัวตนบนแพลตฟอร์มออนไลน์ อาจจะเสียโอกาสทางการตลาดอย่างมาก การตลาดยุคดิจิทัลมีกี่ประเภท การตลาดดิจิทัลมีด้วยกันหลากหลายประเภทซึ่งแต่ละช่องทางมีบทบาทแตกต่างกันไป ธุรกิจสามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับเป้าหมายของตัวเอง ทำความเข้าใจช่องทางสำคัญดังนี้ ประโยชน์ของการตลาดยุคดิจิทัลที่ควรรู้ ตัวอย่างการทำการตลาดยุคดิจิทัล การใช้ SEO เพื่อดึงดูดลูกค้าแบบออร์แกนิก: ร้านขายอุปกรณ์ออกกำลังกายออนไลน์ สรุปว่าการตลาดยุคดิจิทัลนั้นเป็นกลยุทธ์สำคัญที่ช่วยให้ธุรกิจเข้าถึงลูกค้าได้ง่ายและแม่นยำขึ้น ผ่าน SEO, Social Media, Google Ads และ Email Marketing ซึ่งช่วยลดต้นทุน วัดผลได้รวดเร็ว และสร้างแบรนด์ให้เติบโต ดังนั้น หากไม่ปรับตัว อาจเสียโอกาสให้คู่แข่ง ดังนั้น ธุรกิจยุคใหม่ต้องให้ความสำคัญกับการตลาดดิจิทัลเพื่อความอยู่รอดและเติบโต

    TECHNOLOGY

    เทคโนโลยี AI กับโลกธุรกิจ

    เทคโนโลยี AI กับโลกธุรกิจ มีอะไรที่ควรต้องนำไปปรับใช้

    เทคโนโลยี AI กับโลกธุรกิจ ไม่ใช่เรื่องใหม่อีกต่อไป หลายธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจขนาดใหญ่ได้เริ่มนำระบบ AI เข้าไปปรับใช้ในการดำเนินการด้านต่างๆ ในขณะที่ธุรกิจ SME ส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าถึงระบบ AI ได้เต็มที่ แต่ก็มีหลายโปรแกรมที่เป็นแพลตฟอร์มลักษณะ Ready-to-use ที่เข้ามาสนับสนุนทำให้การใช้ระบบ AI ในธุรกิจเป็นเรื่องที่ง่ายขึ้น บทความนี้เราจะมาสรุปกันว่าในภาคธุรกิจสามารถนำ AI ไปใช้งานในด้านไหนบ้าง ที่ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจใหญ่หรือ SME ก็สามารถนำไปปรับใช้ได้ การใช้งาน AI ในภาคธุรกิจ 1. ด้านการตลาดออนไลน์ ก่อนหน้านี้ไม่นานเราาจะเน้นเรื่องการทำ Data-driven Marketing แต่ตอนนี้ไม่ใช่แค่ Data-driven แล้ว แต่ต้องรู้จักการใช้ AI มาเรียนรู้ Data ที่เก็บได้ด้วย ในระบบโฆษณาออนไลน์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Google Ads หรือ Facebook Ads แต่ละแพลตฟอร์มก็จะนำ​​ AI เข้ามาช่วยในการยิงโฆษณาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แต่ใช่ว่าเราจะสามารถเซตอัพแล้วปล่อยให้มันทำงานได้เลยทันที เนื่องจาก AI ด้านโฆษณาจำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูลให้ได้จำนวนหนึ่งเพื่อความแม่นยำ ดังนั้นในฐานะผู้ใช้งาน จำเป็นที่จะต้องป้อนข้อมูลที่แม่นยำให้ […]

    ChatGPT คืออะไร เอามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในธุรกิจได้อย่างไร

    เรื่องที่น่าตื่นเต้นที่สุดที่เกิดขึ้นต้อนรับปีใหม่สำหรับคนที่ทำธุรกิจ เจ้าของกิจการ และทีมการตลาด รวมถึงโปรแกรมเมอร์คงหนีไม่พ้น ChatGPT ซึ่งจะเป็นเรื่องใหม่และน่างงสำหรับหลายคน แต่จริงๆ มันไม่ได้น่างงขนาดนั้น เราขอปรับความเข้าใจของผู้อ่านทุกคนก่อนว่าให้ลองนึกว่า ChatGPT เป็นเหมือน Chatbot ไปก่อน จะทำความเข้าใจได้ง่ายกว่าสำหรับมือใหม่ ก่อนเริ่ม บทความนี้เหมาะกับเจ้าของกิจการมือใหม่ที่เพิ่งเริ่มศึกษาการทำงานของ ChatGPT ทาง HardcoreCEO จึงขออนุญาตอธิบายคร่าวๆ ว่า ChatGPT คืออะไร และอาจเจาะไปในด้านการนำระบบนี้มาใช้ในธุรกิจเป็นหลัก โดยเราขอใช้ภาษาง่ายๆ ในการอธิบายครับ ChatGPT คืออะไร ChatGPT คือระบบที่พัฒนาขึ้นโดยบริษัท OpenAI ถูกพัฒนามาในลักษณะคล้าย Chatbot ที่มีความฉลาดกว่า Chatbot ทั่วไปหลายๆ เท่าตัว เรียกว่าเป็น Guru เลยก็ได้ เพราะถามอะไรไปก็ตอบได้หมด ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการทำงานโดยใช้ AI โดยมีการป้อนข้อมูลจำนวนมหึมาเข้าไปให้ระบบทำการเรียนรู้ ทำให้ AI มีความฉลาดขึ้นหลายเท่า ถึงขนาดที่สามารถตอบคำถามได้นอกเหนือจากสิ่งที่ป้อนเข้าไป เพราะมันจะสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง และที่สำคัญ ภาษาที่มันตอบมานั้นเรียกว่าเหมือนคนตอบเลยก็ได้ ไม่มีความรู้สึกเหมือนหุ่นยนต์เลย ระบบของ ChatGPT เป็น […]

    BUSINESS STARTER

    [EP.4] แผนธุรกิจ ความสำคัญ ขั้นตอนการเขียน และข้อคิดเรื่องการเงิน

    [EP.4] แผนธุรกิจ ความสำคัญ ขั้นตอนการเขียน และข้อคิดเรื่องการเงิน

    แผนธุรกิจ คือแผนที่ที่ช่วยกำหนดทิศทางและเป้าหมายของธุรกิจอย่างเป็นระบบซึ่งมีความสำคัญต่อธุรกิจมาก ช่วยให้เจ้าของธุรกิจ หรือ Entrepreneur สามารถมองเห็นภาพรวมของธุรกิจตัวเอง และเตรียมพร้อมสำหรับความท้าทายในอนาคตได้ ไม่หลุดกรอบออกทะเล ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาดเล็กหรือองค์กรขนาดใหญ่ การมีแผนธุรกิจถือเป็นสิ่งสำคัญที่สุดซึ่งมีขั้นตอนการเขียนที่ควรทำให้ครบทั้งเรื่อง Business, Marketing, Operation และ Financial ในบทความนี้ HardcoreCEO จะพาคุณไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับ แผนธุรกิจคืออะไร และวิธีการเขียนแผนธุรกิจในขั้นตอนที่ชัดเจน เพื่อช่วยให้ธุรกิจของคุณประสบความสำเร็จในระยะยาว แผนธุรกิจคืออะไร ก่อนเริ่มเข้าสู่ขั้นตอนการทำแผนธุรกิจ เรามาทำความรู้จักกับแผนธุรกิจแบบเบสิกๆ กันก่อน แผนธุรกิจ คือ Document ที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ (Vision), เป้าหมาย (Mission), กลยุทธ์ (Strategy) และแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ของธุรกิจอย่างละเอียด เป็นเหมือนแผนที่นำทางสำหรับการดำเนินธุรกิจ ซึ่งช่วยให้ผู้ประกอบการและทีมงานสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีบทบาทสำคัญในการสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนหรือพันธมิตรทางธุรกิจอีกด้วย ในความก่อนหน้านี้เราเคยพูดถึงเรื่อง Market Analysis ไปจนถึงเรื่อง SWOT Analysis และ Value Chain Analysis ซึ่งนั่นยังไม่ใช้แผนธุรกิจ เพราะการทำแผนธุรกิจมีขั้นตอนและรายละเอียดที่มากกว่านั้นไปอีก แผนธุรกิจมีความสำคัญอย่างไร แผนธุรกิจมีความสําคัญมากในการเป็นเข็มทิศนำพาองค์กรไปข้างหน้าได้อย่างชัดเจน […]

    [EP.4] แผนธุรกิจ ความสำคัญ ขั้นตอนการเขียน และข้อคิดเรื่องการเงิน

    แผนธุรกิจ คือแผนที่ที่ช่วยกำหนดทิศทางและเป้าหมายของธุรกิจอย่างเป็นระบบซึ่งมีความสำคัญต่อธุรกิจมาก ช่วยให้เจ้าของธุรกิจ หรือ Entrepreneur สามารถมองเห็นภาพรวมของธุรกิจตัวเอง และเตรียมพร้อมสำหรับความท้าทายในอนาคตได้ ไม่หลุดกรอบออกทะเล ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาดเล็กหรือองค์กรขนาดใหญ่ การมีแผนธุรกิจถือเป็นสิ่งสำคัญที่สุดซึ่งมีขั้นตอนการเขียนที่ควรทำให้ครบทั้งเรื่อง Business, Marketing, Operation และ Financial ในบทความนี้ HardcoreCEO จะพาคุณไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับ แผนธุรกิจคืออะไร และวิธีการเขียนแผนธุรกิจในขั้นตอนที่ชัดเจน เพื่อช่วยให้ธุรกิจของคุณประสบความสำเร็จในระยะยาว แผนธุรกิจคืออะไร ก่อนเริ่มเข้าสู่ขั้นตอนการทำแผนธุรกิจ เรามาทำความรู้จักกับแผนธุรกิจแบบเบสิกๆ กันก่อน แผนธุรกิจ คือ Document ที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ (Vision), เป้าหมาย (Mission), กลยุทธ์ (Strategy) และแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ของธุรกิจอย่างละเอียด เป็นเหมือนแผนที่นำทางสำหรับการดำเนินธุรกิจ ซึ่งช่วยให้ผู้ประกอบการและทีมงานสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีบทบาทสำคัญในการสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนหรือพันธมิตรทางธุรกิจอีกด้วย ในความก่อนหน้านี้เราเคยพูดถึงเรื่อง Market Analysis ไปจนถึงเรื่อง SWOT Analysis และ Value Chain Analysis ซึ่งนั่นยังไม่ใช้แผนธุรกิจ เพราะการทำแผนธุรกิจมีขั้นตอนและรายละเอียดที่มากกว่านั้นไปอีก แผนธุรกิจมีความสำคัญอย่างไร แผนธุรกิจมีความสําคัญมากในการเป็นเข็มทิศนำพาองค์กรไปข้างหน้าได้อย่างชัดเจน […]

    เพื่อประสิทธิภาพในการแสดงผล และการพัฒนาปรับปรุงเว็บไซต์ hardcoreceo.co เราจึงใช้คุกกี้เพื่อเก็บข้อมูลมาพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว

    Privacy Preferences

    คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

    Allow All
    Manage Consent Preferences
    • คุกกี้ที่จำเป็น
      Always Active

      ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

    • คุ้กกี้เพื่อการวิเคราะห์

      คุ้กกี้เพื่อการวิเคราะห์

    Save